วันศุกร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2556

ชนิดรถโดยสาร

ชนิดรถโดยสาร Passenger Carriages

รถโบกี้นั่งและนอนชั้นที่ 1 ปรับอากาศ ( บนอ.ป. ) Air-conditioned First Class Day & Night Coach

รถโบกี้นั่งและนอนชั้นที่ 1 ปรับอากาศ ( บนอ.ป. )
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ KnGEA4539)



ภายในรถโบกี้นั่งและนอนปรับอากาศชั้นที่ 1 (บนอ.ป.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Relove)
เวลากลางวัน ( Day Time )
เวลากลางคืน( Night Time )
  • ชนิดรถ รถโบกี้นั่งและนอนชั้นที่ 1 ปรับอากาศ
  • อักษรย่อ บนอ.ป.
  • จำนวนที่ 24 ที่
  • ลักษณะภายในรถแบ่งเป็นห้อง ห้องละ 2 ที่ (เตียงบน , เตียงล่าง)รวม 12 ห้อง , 24 ที่
  • ปัจจุบันให้บริการ สำหรับขบวนรถด่วนพิเศษ และขบวนรถด่วน
รถโบกี้นั่งและนอนชั้นที่ 2 ปรับอากาศ ( บนท.ป.) Air-conditioned Second Class Day & Night Coac


รถโบกี้นั่งและนอนชั้นที่ 2 ปรับอากาศ ( บนท.ป. )
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ KnGEA4539)

ภายในรถโบกี้นั่งและนอนปรับอากาศชั้นที่ 2 (บนท.ป.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Extended)
เวลากลางวัน ( Day Time )
เวลากลางคืน ( Night Time )
  • ชนิดรถ รถโบกี้นั่งและนอนชั้นที่ 2 ปรับอากาศ
  • อักษรย่อ บนท.ป.
  • จำนวนที่
    • ชนิด 40 ที่ (เตียงบน 20 ที่ , เตียงล่าง 20 ที่)
    • ชนิด 36 ที่ (เตียงบน 18 ที่ , เตียงล่าง 18 ที่)
    • ชนิด 32 ที่ (เตียงบน 16 ที่ , เตียงล่าง 16 ที่)
  • ปัจจุบันให้บริการสำหรับ ขบวนรถด่วนพิเศษ , ขบวนรถด่วน ขบวนรถเร็วและขบวนรถโดยสารพิเศษ (ขบวนรถนำเที่ยว)
*หมายเหตุ* ขบวนรถโดยสารพิเศษ (ขบวนรถนำเที่ยว) ต่อเมื่อมีขบวนรถจัดเฉพาะพ่วงไปด้วย หรือ เพียงบางเส้นทางเท่านั้น

รถโบกี้นั่งและนอนชั้นที่ 2 (บนท.) Bogie Second Class Day & Night Coach


รถโบกี้นั่งและนอนชั้นที่ 2 ( บนท. )
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และคุณ Extended)
ภายในรถโบกี้นั่งและนอนชั้นที่ 2 (บนท.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และคุณ Extended)
เวลากลางวัน ( Day Time )
เวลากลางคืน ( Night Time )
  • ชนิดรถ รถโบกี้นั่งและนอนชั้นที่ 2
  • อักษรย่อ บนท.
  • จำนวนที่
    • ชนิด 36 ที่ (เตียงบน 18 ที่ , เตียงล่าง 18 ที่)
    • ชนิด 26/28/32 ที่ (เตียงบน 13/14/16 ที่ เตียงล่าง 13/14/16 ที่ ตามลำดับ)
  • ปัจจุบันให้บริการสำหรับ ขบวนรถด่วนพิเศษ , ขบวนรถด่วน และขบวนรถเร็ว
รถโบกี้ชั้นที่ 2 ปรับอากาศ ( บชท.ป.)  Air-conditioned Bogie Second Class Carriage
รถโบกี้นั่ง ปรับอากาศ ชันที่ 2 ( บชท.ป. )
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และคุณ Extended)
ภายในรถโบกี้นั่ง ปรับอากาศชั้นที่ 2 (บชท.ป.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และคุณ Extended)
  • ชนิดรถ รถโบกี้ชั้นที่ 2 ปรับอากาศ
  • อักษรย่อ บชท.ป.
  • จำนวนที่ 48 ที่นั่ง
  • ปัจจุบันให้บริการสำหรับขบวนรถด่วนและขบวนรถเร็ว เพียงบางขบวนเท่านั้น
รถกำลังดีเซลรางปรับอากาศ (กซข.ป. , กซม.ป.) Air-conditioned Power Diesel Railcar ( With Driving Cab , Non Driving Cab )
ขบวนรถดีเซลราง รุ่น Deawoo
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Tanasak M.)
ชั้นที่ 2 นั่งปรับอากาศ ชนิดรถ Deawoo 76/80 ที่นั่ง
ขบวนรถดีเซลราง รุ่น Spinter
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Panuwat S.)
ชั้นที่ 2 นั่งปรับอากาศ ชนิดรถ Spinter 76/80 ที่นั่ง
รถดีเซลรางปรับอากาศ ATC.
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Gunners)
ชั้นที่ 2 นั่งปรับอากาศ ATC. 58 ที่นั่ง
  • การบริการ เป็นรถนั่งปรับอากาศทั้งขบวน ยกเว้นรถดีเซลรางปรับอากศ ATC.
  • ชนิดรถ รถกำลังดีเซลรางปรับอากาศมีห้องขับ
  • อักษรย่อ กซข.ป.
  • จำนวนที่นั่ง 76 ที่
  • ชนิดรถ รถกำลังดีเซลรางปรับอากาศไม่มีห้องขับ
  • อักษรย่อ กซม.ป.
  • จำนวนที่นั่ง 58 ที่ , 80 ที่
  • ปัจจุบันให้บริการสำหรับ ขบวนรถด่วนพิเศษ , ขบวนรถด่วน , ขบวนรถเร็ว และขบวนรถโดยสารพิเศษ (ขบวนรถนำเที่ยว)
*หมายเหตุ* ขบวนรถโดยสารพิเศษ(ขบวนรถนำเที่ยว) เฉพาะ ขบวน 987/988 กรุงเทพ - สวนนุงนุช เท่านั้น

รถโบกี้ชั้นที่ 2 ( บชท. ) Bogie Second Class Carriage
ภายในรถโบกี้ชั้นที่ 2 นั่งพัดลม (บชท.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Extended)
รถโบกี้ชั้นที่ 2 พัดลม (บชท.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Alderwood)
  • ชนิดรถ รถโบกี้ชั้นที่ 2
  • อักษรย่อ บชท.
  • จำนวนที่นั่ง 48 ที่
  • ปัจจุบันให้บริการสำหรับ ขบวนรถด่วนพิเศษ , ขบวนรถด่วน , ขบวนรถเร็ว และขบวนรถธรรมดา เพียงบางขบวนเท่านั้น
รถโบกี้ชั้นที่ 2 - 3 ติดกัน ( บสส.) Bogie Second & Third Class Carriage
ภายใน รถโบกี้ชั้นที่ 2 - 3 ติดกัน
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ CivilSpice)
ชั้นที่ 3
  • ชนิดรถ รถโบกี้ชั้นที่ 2 - 3 ติดกัน
  • อักษรย่อ บสส.
  • จำนวนที่นั่ง           
  • ชั้นที่ 2 จำนวน 20 ที่
  • ชั้นที่ 3 จำนวน 40 ที่
  • ปัจจุบันให้บริการสำหรับ ขบวนรถด่วน , ขบวนรถเร็ว และขบวนรถธรรมดา เพียงบางขบวนเท่านั้น
รถกำลังดีเซลราง (กซข.,กซม.) Bogie Power Diesel Railcar ( With Driving Cab , Non Driving Cab )
ขบวนรถดีเซลราง
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Pattharachai)
ชั้นที่ 3 นั่งพัดลม ( กซข. )
  • ชนิดรถ รถกำลังดีเซลรางมีห้องขับ
  • อักษรย่อ กซข.
  • จำนวนที่นั่ง 74 ที่
  • ชนิดรถ รถกำลังดีเซลรางไม่มีห้องขับ
  • อักษรย่อ กซม.
  • จำนวนที่นั่ง 58 ที่
  • ปัจจุบันให้บริการสำหรับ ขบวนรถด่วน , ขบวนรถเร็ว , ขบวนรถธรรมดา , ขบวนรถชานเมือง , ขบวนรถท้องถิ่นและขบวนรถโดยสารพิเศษ (ขบวนรถนำเที่ยว)


*หมายเหตุ* ขบวนรถโดยสารพิเศษ (ขบวนรถนำเที่ยว) เฉพาะ ขบวน 909/910 , 911/912 กรุงเทพ - น้ำตกไทรโยคน้อย - สวนสนประดิพัทธิ์ เท่านั้น



รถปรับอากาศชั้นที่ 3 ( บชส.ป.) Air-Conditioned Third Class Carriage
ภายในรถชั้นที่ 3 นั่งปรับอากาศ (บชส.ป.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Extended)
ลักษณะที่นั่ง ชั้นที่ 3 ปรับอากาศ
  • ชนิดรถ รถปรับอากาศชั้นที่ 3
  • อักษรย่อ บชส.ป.
  • จำนวนที่นั่ง 76 , 80 ที่
  • ปัจจุบันให้บริการสำหรับ ขบวนรถด่วนพิเศษ , ขบวนรถด่วน , ขบวนรถเร็ว เพียงบางขบวนเท่านั้น
รถโบกี้ชั้นที่ 3 ( บชส.) Bogie Third Class Carriage
รถโบกี้ชั้นที่ 3 (บชส.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Pattharachai)

รถโบกี้ชั้นที่ 3 (บชส.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Nakhonlampang)

ชนิดที่นั่งเบาะ สีน้ำตาล
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ CivilSpice)
ชนิดที่นั่งเบาะ สีเขียว
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ CivilSpice)

ชนิดที่นั่งเบาะ แบบห้องโถง
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ CivilSpice)
ชนิดที่นั่งไม้สัก
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ CivilSpice)
  • ชนิดรถ รถโบกี้ชั้นที่ 3
  • อักษรย่อ บชส.
  • จำนวนที่นั่ง 76 , 80 ที่
  • ปัจจุบันให้บริการสำหรับ (ขบวนรถด่วนพิเศษ , ขบวนรถด่วน , ขบวนรถเร็ว เพียงบางขบวนเท่านั้น) ขบวนรถธรรมดา , ขบวนรถชานเมือง , ขบวนท้องถิ่นและขบวนรถโดยสารพิเศษ (ขบวนรถนำเที่ยว)
*หมายเหตุ* ขบวนรถโดยสารพิเศษ(ขบวนรถนำเที่ยว) ต่อเมื่อมีขบวนรถเช่าจัดเฉพาะพ่วงไปด้วย หรือ เพียงบางเส้นทางเท่านั้น

ขอขอบคุณสำหรับข้อมูล : การรถไฟแห่งประเทศไทย http://www.railway.co.th/home/srt/passenger/bogie.asp
ขอขอบคุณสำหรับรูปภาพประกอบข้อมูล : รถไฟไทยดอทคอม http://portal.rotfaithai.com/



วันพฤหัสบดีที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2556

รถจักรดีเซลและดีเซลราง (รถดีเซลราง)

รถดีเซลราง Diesel Railcars
ในปัจจุบันรถจักรดีเซล ที่ยังประจำการและใช้งาน ของการรถไฟแห่งประเทศไทย มีรุ่นต่างๆดังนี้
รถดีเซลราง THN เลขที่รถ 1101- 1140
แบบมีห้องขับ 76 ที่ (กซข.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Pattharachai)
ข้อมูลรายละเอียด
  • จำนวนที่นั่ง แบบมีห้องขับ 76 ที่ (กซข.)
  • กำลังไฟฟ้า 235 แรงม้า
  • เข้าประจำการ 8 กรกฏาคม พศ. 2526 เป็นต้นมา
  • มูลค่า 14,267,188.18บาท/ตู้ (คัน 1101) และ 11,497,584.21บาท/ตู้ (ที่เหลือ)
รถดีเซลราง NKF เลขที่รถ 1201- 1264
แบบมีห้องขับ 76 ที่ (กซข.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Weeraton)  
ข้อมูลรายละเอียด
  • จำนวนที่นั่ง แบบมีห้องขับ 76 ที่ (กซข.)
  • กำลังไฟฟ้า 235 แรงม้า
  • เข้าประจำการ 30 มกราคม พศ.2528 เป็นต้นมา
  • มูลค่า 14,267,188.18 บาท/ตู้
รถดีเซลราง ATR เลขที่รถ : 2101- 2112
แบบไม่มีห้องขับ 80 ที่ (กซม.ป.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Gunners)  
ข้อมูลรายละเอียด
  • จำนวนที่นั่ง แบบไม่มีห้องขับ 80 ที่ (กซม.ป.)
  • กำลังไฟฟ้า 235 แรงม้า
  • เข้าประจำการ 10 มิถุนายน พศ.2538 เป็นต้นมา
  • มูลค่า 14,318,705.36บาท/ตู้
รถดีเซลราง RHN รุ่น RH (ฮิตาชิ) เลขที่ 1011 - 1020
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Teerawut W")  
ข้อมูลรายละเอียด 
  • กำลังไฟฟ้า 440 แรงม้า
  • มูลค่า 1,660,000.00บาท/คัน
  • เข้าประจำการ พศ.2510
  • ผลิตโดย บริษัท ฮิตาชิ จำกัด ประเทศญี่ปุ่น
รถดีเซลราง RHN รุ่น RHN (ฮิตาชิ) เลขที่ 1012 - 1048
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Teerawut W.
ข้อมูลรายละเอียด
  • กำลังไฟฟ้า 440 แรงม้า
  • มูลค่า 1,848,681.80 บาท/คัน
  • เข้าประจำการ ตุลาคม พศ.2513
  • ผลิตโดย บริษัท ฮิตาชิ จำกัด ประเทศญี่ปุ่น
APN (แดวูอุตสาหกรรมหนัก DAEWOO)

รถดีเซลราง Daewoo รุ่น APN.20 เลขที่ : 2513-2524
แบบมีห้องขับ 76 ที่ (กซข.ป.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Teerawut W.)
ข้อมูลรายละเอียด
  • จำนวนที่นั่ง แบบมีห้องขับ 76 ที่ (กซข.ป.)
  • กำลังไฟฟ้า 298 แรงม้า 
  • เข้าประจำการ 14 - 28 ตุลาคม พศ.2538 (2513-2524 เว้น 2523) และ 1 พฤศจิกายน พศ.2538 (หมายเลข 2523)
  • ความเร็ว 120 กิโลเมตร/ชั่วโมง
  • ระบบขับเคลื่อน ใช้เครื่องถ่ายทอดกำลังแบบ  ไฮดรอลิคควบคุมโดยอัติโนมัติ พร้อมวงจรเปลี่ยนทิศทางขับภายในตัว
  • การจัดวางล้อ 2 - 4 Wheel bogie ระบบกันสะเทือนแบบแหนบลม
  • ระบบห้ามล้อ ใช้ลมอัด (Air Brack)
  • มูลค่า 28,471,378.82 - 28,471,378.83บาท/ตู้
  • ผลิตโดย Daewoo Haevy Industries ltd.  ประเทศเกาหลีใต้
รถดีเซลราง Daewoo รุ่น APN.60APD (APD 60) เลขที่ 2525-2544
แบบมีห้องขับ 76 ที่ (กซข.ป.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Tanasak M.)
ข้อมูลรายละเอียด
  • จำนวนที่นั่ง แบบมีห้องขับ 76 ที่ (กซข.ป.)
  • กำลังไฟฟ้า 298 แรงม้า 
  • เข้าประจำการ 27 มิถุนายน พศ.2539 เป็นต้นมา
  • ความเร็ว 120 กิโลเมตร/ชั่วโมง
  • ระบบขับเคลื่อน ใช้เครื่องถ่ายทอดกำลังแบบ  ไฮดรอลิคควบคุมโดยอัติโนมัติ พร้อมวงจรเปลี่ยนทิศทางขับภายในตัว
  • การจัดวางล้อ 2 - 4 Wheel bogie ระบบกันสะเทือนแบบแหนบลม
  • ระบบห้ามล้อ ใช้ลมอัด (Air Brack)
  • มูลค่า31,597,970.69 - 31,597,970.70 บาท/ตู้
  • ผลิตโดย Daewoo Haevy Industries ltd.  ประเทศเกาหลีใต้
รถดีเซลราง Daewoo รุ่น APN.20 เลขที่ 2121-2128
แบบไม่มีห้องขับ 80 ที่ (กซม.ป.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Pitakchart 4545)
ข้อมูลรายละเอียด
  • จำนวนที่นั่ง แบบไม่มีห้องขับ 80 ที่ (กซม.ป.)
  • กำลังไฟฟ้า 298 แรงม้า 
  • เข้าประจำการ 14 ตุลาคม คศ.1995 (พ.ศ. 2538) เป็นต้นมา
  • มูลค่า 28,471,378.83 บาท/ตู้
  • ความเร็ว 120 กิโลเมตร/ชั่วโมง
  • ระบบขับเคลื่อน ใช้เครื่องถ่ายทอดกำลังแบบ  ไฮดรอลิคควบคุมโดยอัติโนมัติ พร้อมวงจรเปลี่ยนทิศทางขับภายในตัว
  • การจัดวางล้อ 2 - 4 Wheel bogie ระบบกันสะเทือนแบบแหนบลม
  • ระบบห้ามล้อ ใช้ลมอัด (Air Brack)
  • ผลิตโดย Daewoo Haevy Industries ltd.  ประเทศเกาหลีใต้
ASR 20 - สปรินเตอร์ - เบเซล (บริติชเรล - BREL)
รถดีเซลราง Sprinter รุ่น ASRAPD เลขที่ 2501-2512
ชนิดมีห้องขับมีที่นั่ง 72 ที่ (กซข.ป.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Panuwat S.)
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดมีห้องขับมีที่นั่ง 72 ที่ (กซข.ป.)
  • กำลังไฟฟ้า 285 แรงม้า
  • เข้าประจำการ 23 พฤษภาคม 2534 เป็นต้นมา
  • ความเร็ว 120 กิโลเมตร/ชั่วโมง
  • มูลค่า 23,378,654.00 บาท/ตู้
  • ผลิตโดย ประเทศอังกฤษ
รถดีเซลราง Sprinter รุ่น ASRAPN เลขที่ 2113-2120
ชนิดไม่มีห้องขับมีที่นั่ง 80 ที่ คันกลาง (กซม.ป.)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Panuwat S )
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดไม่มีห้องขับมีที่นั่ง 80 ที่ (กซม.ป.)
  • กำลังไฟฟ้า 285 แรงม้า
  • เข้าประจำการ 23 พฤษภาคม 2534 เป็นต้นมา
  • ความเร็ว 120 กิโลเมตร/ชั่วโมง
  • มูลค่า 22,520,523.00 บาท/ตู้
  • ผลิตโดย ประเทศอังกฤษ 
ขอบคุณสำหรับข้อมูล : R@il-Th@i http://www.geocities.ws/railsthai/train01.htm
ขอบคุณสำหรับรูปภาพ : รถไฟไทยดอทคอม http://portal.rotfaithai.com

รถจักรดีเซลและดีเซลราง (รถจักรไอน้ำ)


หัวรถจักรไอน้ำ (Steam locomotive)
            ในปัจจุบันได้จอดเก็บรักษา ตลอดจนสถานที่ซ่อมบำรุง ของรถจักรไอน้ำอยู่ที่โรงรถจักรธนบุรี โดยมีรถจักรไอน้ำที่ยังใช้งานได้ ประจำการอยู่เพียง 5 คันเท่านั้น

รถจักรไอน้ำ ซี56 (C56)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Infinitely)
ข้อมูลรายละเอียด
  • ใช้การจำนวน 46 คัน ตั้งแต่ หมายเลข 701-746 
  • ใช้เชื้อเพลิงเป็นฟืน
  • แบบล้อ 2-6-0 (ล้อนำ 2 ล้อกำลัง 6 ล้อตาม 0)
  • สร้างขึ้นในประเทศญี่ปุ่น
  • นำเข้ามาใช้การเมื่อ พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946)
  • ปัจจุบัน รถจักรไอน้ำ ซี 56 (C56) เหลือใช้เพียง 2 คัน คือ หมายเลข 713, 715 จะใช้วิ่งแสดง ในงานสัปดาห์สะพานข้ามแม่น้ำแคว จังหวัดกาญจนบุรี
รถจักรไอน้ำแปซิฟิค (Pacific)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟลิซึ่ม และ คุณ Pitipon Srioumsuk )
ข้อมูลรายละเอียด
  • ใช้การจำนวน 30 คัน รุ่น หมายเลข 821-850
  • ใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิง ภายหลังดัดแปลงมาใช้ น้ำมันเตาเป็นเชื้อเพลิง
  • แบบล้อ 4-6-2 (ล้อนำ 4 ล้อ กำลัง 6 ล้อตาม 2)
  • สร้างโดย สมาคมอุตสาหกรรมรถไฟแห่งประเทศญี่ปุ่น (Japan Association of Railway Industry)
  • นำมาใช้การเมื่อปี พ.ศ. 2492-2494 (ค.ศ. 1949-1951)
  • ปัจจุบัน รถจักรไอน้ำแปซิฟิค (Pacific)  มีเหลือใช้การ 2 คัน หมายเลข 824 และ 850 จะใช้ลากจูงขบวนรถพิเศษโดยสาร ในวันสำคัญ ต่างๆ
รถจักรไอน้ำมิกาโด (Mikado)
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ CivilSpice)
ข้อมูลรายละเอียด
  • ใช้การจำนวน 70 คัน หมายเลข 901-970
  • ใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิงภายหลังดัดแปลงมาใช้ น้ำมันเตาเป็นเชื้อเพลิง
  • แบบล้อ 2-8-2 (ล้อนำ 2 ล้อ กำลัง 8 ล้อตาม 2)
  • สร้างโดย สมาคมอุตสาหกรรมรถไฟแห่งประเทศญี่ปุ่น (Japan Association of Railway Industry)
  • นำมาใช้การเมื่อปี พ.ศ. 2492-2494 (ค.ศ. 1949-1951)
  • ปัจจุบัน รถจักรไอน้ำมิกาโด (Mikado)  มีเหลือใช้การ 1 คัน หมายเลข 953 จะใช้ลากจูงขบวนรถพิเศษโดยสาร ในวันสำคัญ ต่างๆ
ขอขอบคุณสำหรับข้อมูล : งานรถจักรแขวงธนบุรี การรถไฟแห่งประเทศไทย  http://www.thonburidepot.com/
ขอบคุณสำหรับรูปภาพ : รถไฟลิซึ่ม https://www.facebook.com/Trainlism และ รถไฟไทยดอทคอม http://portal.rotfaithai.com

วันพุธที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2556

รถจักรดีเซลและดีเซลราง (รถจักรดีเซล)

รถจักรดีเซล Diesel Locomotives
ในปัจจุบันรถจักรดีเซล ที่ยังประจำการและใช้งาน ของการรถไฟแห่งประเทศไทย มีรุ่นต่างๆดังนี้
หัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า ยีอี ( GEA. ) รุ่นเลขที่ 4523-4560
(ขอบคุณภาพ : รถไฟลิซึ่ม และ คุณ Nutt Kaewklampresert)   
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดรถจักร Diesel Electric Locomotives
  • แรงม้า 2 x 1,250 HP @ 1,800 rpm มี 2 เครื่องยนต์
  • น้ำหนักรถจักร 80.60 ตัน ( Empty ) 86.50 ตัน ( In working Order )
  • น้ำหนักกดเพลา 14.42 ตัน
  • การจัดวางล้อ Co-Co all axles powered ( มี 2 แคร่   แต่ละแคร่มี 3 เพลาล้อ  ทุกเพลาล้อติดตั้งมอเตอร์ลากจูง 1 ลูก )
  • พิกัดตัวรถ กว้าง 2,820มม. X สูง 3,635มม.ยาว 19,355มม.
  • ระบบห้ามล้อ Pure Air Brake
  • ความจุถังเชื้อเพลิง 4,540 ลิตร
  • ความเร็วสูงสุด 100 กม./ชม.
  • บริษัทผู้สร้าง General Electric Transportation Systems มลรัฐ Pennsylvania USA.
  • ราคา 54,350,498 บาท
  • ใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2538
หัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า ฮิตาชิ ( HID. ) รุ่นเลขที่ 4501-4522

(ขอบคุณภาพ : รถไฟลิซึ่ม และ คุณ Nutt Kaewklampresert)  
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดรถจักร Diesel Electric Locomotives
  • แรงม้า 2 x 1430 HP @ 1800 rpm
  • น้ำหนักรถจักร 84.50 ตัน ( Empty ) 90.00 ตัน ( In working Order )
  • น้ำหนักกดเพลา 15.00 ตัน
  • การจัดวางล้อ Co-Co (มี 2 แคร่ แต่ละแคร่มี 3 เพลาล้อทุกเพลาล้อติดตั้งมอเตอร์ลากจูง 1 ลูก)
  • พิกัดตัวรถ กว้าง 2,780มม. X สูง 3,870มม. X ยาว 19,355มม.
  • ความจุถังเชื้อเพลิง 5,000 ลิตร
  • ความเร็วสูงสุด 100 กม./ชม.                                                            
  • บริษัทผู้สร้าง Hitachi Ltd. โรงงานมิโด ประเทศญี่ปุ่น 
  • ราคา 75,059,743.00 บาท
  • ใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2536
หัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า อัลสธอม (ADD.) รุ่นเลขที่ 4401-4420

(ขอบคุณภาพ : รถไฟลิซึ่ม และ คุณ Chairat Songsaeng)
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดรถจักร Diesel Electric Locomotives
  • แรงม้า 2,400 HP @ 1,500 rpm
  • น้ำหนักรถจักร 77.50 ตัน ( Empty ) 82.50 ตัน ( In working Order )
  • น้ำหนักกดเพลา 13.75 ตัน
  • การจัดวางล้อ Co-Co
  • พิกัดตัวรถ กว้าง 2,800มม. X สูง 3,880มม. X ยาว 16,258มม.
  • ระบบห้ามล้อ Combined Air&Vacuum Brake
  • ความจุถังเชื้อเพลิง 3,500 ลิตร
  • ความเร็วสูงสุด 100 กม./ชม.
  • บริษัทผู้สร้าง Alsthom Atlantique , France
  • ราคา 42,387,625.24 บาท
  • ใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2528
หัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า อัลสธอม (ALD.) รุ่นเลขที่ 4301-4309

(ขอบคุณภาพ : รถไฟลิซึ่ม และ คุณ ปีศาจวัสซี่ เหมยลี่ที่รัก )
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดรถจักร Diesel Electric Locomotives
  • แรงม้า 2,400 HP @ 1,500 rpm.
  • น้ำหนักรถจักร 77.50 ตัน ( Empty )  82.50 ตัน ( In working Order )
  • น้ำหนักกดเพลา 13.75 ตัน
  • การจัดวางล้อ Co-Co
  • พิกัดตัวรถ กว้าง  2,800มม. X สูง 3,880มม. X ยาว 16,258 มม.
  • ระบบห้ามล้อ Combined Air&Vacuum Brake
  • ความจุถังเชื้อเพลิง 3,500 ลิตร
  • ความเร็วสูงสุด 100 กม./ชม.
  • บริษัทผู้สร้าง Alsthom Atlantique , France
  • ราคา 26,919,211.15 บาท
  • ใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2526
หัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า อัลสธอม (AHK.) รุ่นเลขที่ 4201-4230
(ขอบคุณภาพ : รถไฟลิซึ่ม และ คุณ ปีศาจวัสซี่ เหมยลี่ที่รัก )
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดรถจักร Diesel Electric Locomotives
  • แรงม้า 2,400 HP @ 1,500 rpm
  • น้ำหนักรถจักร 77.50 ตัน ( Empty ) 82.50 ตัน ( In working Order )
  • น้ำหนักกดเพลา 13.75 ตัน
  • การจัดวางล้อ Co-Co
  • พิกัดตัวรถ กว้าง 2,800มม. X สูง 3,880มม. X ยาว 16,258มม.
  • ระบบห้ามล้อ Combined Air&Vacuum Brake
  • ความจุถังเชื้อเพลิง 3,500 ลิตร
  • ความเร็วสูงสุด 100 กม./ชม.
  • บริษัทผู้สร้าง Alsthom Henschel/ Krupp,Germany
  • ราคา 23,541,744.98 บาท
  • ใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2523
หัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า อัลสธอม (ALS.) รุ่นเลขที่ 4101-4154

(ขอบคุณภาพ : รถไฟลิซึ่ม และ คุณ Pitipon Srioumsuk)
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดรถจักร Diesel Electric Locomotives
  • แรงม้า 2,400 HP @ 1,500 rpm
  • น้ำหนักรถจักร 77.50  ตัน ( Empty ) 82.50 ตัน  ( In working Order )
  • น้ำหนักกดเพลา 13.75  ตัน
  • การจัดวางล้อ Co-Co
  • พิกัดตัวรถ กว้าง 2,800มม. X สูง 3,880มม. X ยาว 16,258มม.
  • ระบบห้ามล้อ Combined Air&Vacuum Brake
  • ความจุถังเชื้อเพลิง 3,500 ลิตร
  • ความเร็วสูงสุด 95 กม./ชม.
  • บริษัทผู้สร้าง Alsthom , France
  • ราคา 11,060,252.11 บาท
  • ใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2517
หัวรถจักรดีเซลไฮดรอลิค กรุ๊ป ( KP. )รุ่นเลขที่ 3101-3130
(ขอบคุณภาพ : คุณ  Pichet Chamneam)
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดรถจักร Diesel Hydraulical Locomotives
  • แรงม้า 1,500 HP @ 1,400 rpm
  • น้ำหนักรถจักร 50.50 ตัน ( Empty ) 55.00 ตัน ( In working Order )
  • น้ำหนักกดเพลา 13.75 ตัน
  • การจัดวางล้อ B' - B'
  • พิกัดตัวรถ กว้าง 2,800มม. X สูง 3,875มม. X ยาว 12,800 มม.
  • ระบบห้ามล้อ Combine Air & Vacuum Brake
  • ความจุถังเชื้อเพลิง 3,500 ลิตร
  • ความเร็วสูงสุด 90 กม./ชม.
  • บริษัทผู้สร้าง Krupp , Germany
  • ราคา 4,530,907.06 บาท
  • ใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2512
หัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า ยีอี ( GE. )รุ่นเลขที่ 4001-4050
(ขอบคุณภาพ : รถไฟลิซึ่ม และ คุณ Nutt Kaewklampresert)  
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดรถจักร Diesel Electric Locomotives
  • แรงม้า 2 x 660 HP @ 2,000 rpm
  • น้ำหนักรถจักร 70.178 ตัน ( Empty ) 75.00 ตัน ( In working Order )
  • น้ำหนักกดเพลา 12.5 ตัน
  • การจัดวางล้อ Co-Co
  • พิกัดตัวรถ กว้าง 2,794มม. X สูง 3,753มม. X ยาว 16,288มม.
  • ระบบห้ามล้อ Combined Air&Vacuum Brake
  • ความจุถังเชื้อเพลิง 3,500 ลิตร
  • ความเร็วสูงสุด 103 กม./ชม.
  • บริษัทผู้สร้าง General Electric , U.S.A.
  • ราคาประมาณ 4,590,384.30 บาท
  • ใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2507
หัวรถจักรดีเซลไฮดรอลิค เฮนเชล ( HE. ) รุ่นเลขที่ 3001-3027
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ Bluesman)
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดรถจักร Diesel Hydraulical Locomotives
  • แรงม้า 1,200 HP @ 1,500 rpm
  • น้ำหนักรถจักร 46.50 ตัน ( Empty ) 52.00 ตัน ( In working Order )
  • น้ำหนักกดเพลา 13.00 ตัน
  • การจัดวางล้อ B' - B'
  • พิกัดตัวรถกว้าง 2,800  มม. X สูง     3,800  มม. X ยาว    12,800 มม.
  • ระบบห้ามล้อ Air & Vacuum Brake
  • ความจุถังเชื้อเพลิง 3,500 ลิตร
  • ความเร็วสูงสุง 90 กม./ชม.
  • บริษัทผู้สร้าง Henschel , Germany
  • ราคา 3,946,320.34 บาท
  • ใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2507
หัวรถจักรดีเซลไฟฟ้า ดาเวนปอร์ต ( Davenport )รุ่นเลขที่ 511-540
(ขอบคุณภาพ : รถไฟไทยดอทคอม และ คุณ CivilSpice )
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดรถจักร Diesel Electric Locomotives
  • แรงม้า 500 hp. @ 1,200 rpm
  • น้ำหนักรถจักร 46.664 ตัน ( Empty) 48.124 ตัน ( In working Order )
  • น้ำหนักกดเพลา 12.00 ตัน
  • การจัดวางล้อ Bo-Bo
  • พิกัดตัวรถ กว้าง 2,801.15มม.สูง 3,848.10มม. ยาว 9,893.20มม.
  • ระบบห้ามล้อ Combined Air&Vacuum Brake
  • ความจุถังเชื้อเพลิง 1,590 ลิตร
  • ความเร็วสูงสุด 82 กม./ชม.
  • บริษัทผู้สร้าง Davenport , U.S.A.
  • ราคาประมาณ 1,164,816.56 บาท
  • ใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2495
หัวรถจักรสับเปลี่ยน ดีเซลไฮดรอลิค เฮนเชล ( HAS. ) รุ่นเลขที่ 70-79
(ขอบคุณภาพ : คุณ Peerapat Kokeattrakun)
ข้อมูลรายละเอียด
  • ชนิดรถจักร Diesel-hydraulical Locomotives
  • แรงม้า 714 HP @ 2,200 rpm
  • Engine&Model MTU 6 V 396 TC 12
  • น้ำหนักรถจักร 39.00 ตัน ( Empty )  41.25 ตัน ( In working Order )
  • น้ำหนักกดเพลา 13.75 ตัน  / เพลา
  • การจัดวางล้อแบบ C'
  • พิกัดตัวรถกว้าง 2,780 มม. X สูง     3,700 มม. X ยาว    9,600 มม.
  • ระบบห้ามล้อ Air Brake
  • ความจุถังเชื้อเพลิง 2,000 ลิตร
  • ความเร็วสูงสุด 58 กม./ชม.
  • บริษัทผู้สร้าง Henschel , Germany
  • ราคา 17,067,953.08 บาท / คัน
  • ใช้งานเมื่อปี พ.ศ.2529 จำนวน 10 คัน
ขอบคุณสำหรับข้อมูล : การรถไฟแห่งประเทศไทย http://www.railway.co.th/home/srt/knowledge/locomotives.asp
ขอบคุณสำหรับรูปภาพ : รถไฟลิซึ่ม https://www.facebook.com/Trainlism และ รถไฟไทยดอทคอม http://portal.rotfaithai.com